วันอังคารที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2560

ระบบปฏิบัติการเบื้องต้น หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 การใช้โปรแกรมยูทิลิตี้

หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 การใช้โปรแกรมยูทิลิตี้

- โปรแกรม Scan Disk
การใช้งาน Scan Disk สำหรับตรวจสอบข้อผิดพลาดของ ฮาร์ดดิสก์ สำหรับ Windows XP 
1. ดับเบิ้ลคลิกที่ My Computer คลิกขวาไดร์ฟที่ต้องการทำ Scan Disk เลือก Properties 

2. คลิกที่แท็บ Tools จากนั้นคลิกที่ Check Now…

3. คลิกเครื่องหมายถูกที่ Scan for and attempt recovery of bad sectors แล้วคลิก Start




4. รอสักครู่เครื่องจะทำการ Scan Disk 




5. เมื่อเครื่องทำการ Scan Disk เสร็จก็จะรายงานได้ทราบ ให้คลิก OK



- โปรแกรมรักษาจอภาพ (Screen Saver)

  Screen Saver คือ โปรแกรมที่ทำหน้าที่รักษาจอภาพ หากเราเปิดคอมพิวเตอร์ทิ้งเอาไว้นาน ๆ โดยปล่อยให้จอภาพแสดงภาพเดิมโดยไม่มีการเคลื่อนไหวใดๆเลย จะทำให้จอภาพของเรามีรอยไหม้เกิดขึ้น และรอยนี้จะติดอยู่ตลอดไป ลบออกไม่ได้ หรือไม่บางทีอาจทำให้จอมืดไปเลยก็มี เมื่อเป็นเช่นนี้แล้วจึงมีมนุษย์คิดประดิษฐ์โปรแกรมถนอมจอภาพนี้ขึ้น ด้วยหลักที่ว่า หากเราไม่ได้แตะต้องคอมโดยปล่อยให้จอภาพค้างภาพเดิมอยู่นาน X นาที ( X= ระยะเวลาที่เราสามารถกำหนดเองได้) ตัวโปรแกรม Screen Saver ก็จะทำงานทันที โดยบางโปรแกรมอาจมีภาพเคลื่อนไหว หรือตัวหนังสือวิ่งไปวิ่งมา หรือบางโปรแกรมอาจมีเสียงเพลงดังขึ้นมาด้วย เมื่อเราขยับเมาส์ หรือแตะที่แป้นพิมพ์แป้นใดแป้นหนึ่ง ข้อความหรือภาพบนจอที่เคลื่อนไหวอยู่ ก็จะหายไป และกลับเป็นหน้าจอเหมือนเดิม 
       Screen Saver เหล่านี้จะช่วยให้จอมีการแสดงภาพเปลี่ยนไปมาเรื่อย ๆ เพื่อรักษาหน้าจอเท่านั้น ไม่ได้เป็นการพักเครื่องหรือพักการทำงานของ CPU เพราะซีพียู ยังคงจะต้องทำงาน อยู่เหมือนเดิม เจ้า Screen Saver นี้สามารถดาวน์โหลดได้ในอินเตอร์เน็ต และทำการติดตั้งได้ง่าย โดยโปรแกรม Screen Saver ส่วนใหญ่จะมีชื่อนามสกุลของไฟล์เป็น .scr ให้ทำการ copy ไฟล์นั้นไปเก็บไว้ใน Folder ที่ชื่อ C:\WINDOWS\SYSTEM หลังจากนั้น เมื่อเข้ามาดูในเมนูของการเลือก Screen Saver จะเห็นรายชื่อเพิ่มเติมเข้ามาให้เลือกใช้งานได้ หรือหากยังไม่ถูกใจ เลยอยากลองทำ Screen Saver ด้วยตัวเองก็มีโปรแกรมช่วยสร้าง Screen Saver มากมาย อาทิเช่น PK Screen Saver, InstantStorm 2.0 , Nature Illusion Screensaver , Screen Saver Studio v2.01, Active Screen Saver Builder เป็นต้น

ตัวอย่างโปรแกรม Screen Saver ใน Windows 

ระบบปฏิบัติการ หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเลือกใช้และติดตั้งระบบปฏิบัติการ

หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเลือกใช้และติดตั้งระบบปฏิบัติการ

- ระบบปฏิบัติการแบบเปิด (Open Standard)
ระบบปฏิบัติการแบบเปิด (Open Operating System)
            ในสมัยก่อนผู้ที่พัฒนาระบบปฏิบัติการคือบริษัทที่ผลิตคอมพิวเตอร์ดังนั้นระบบปฏิบัติการจึงถูกออกแบบ
ให้สามารถใช้ได้เฉพาะกับเครื่องของบริษัทเท่านั้น เรียกระบบปฏิบัติการประเภทนี้ว่า ระบบปฏิบัติการแบบปิด
 (Proprietary operating system) ซึ่งแม้แต่ในปัจจุบันนี้เครื่องระดับเมนเฟรมผู้ขายก็ยังคงเป็นผู้กำหนดความสามารถของระบบปฏิบัติการของเครื่องที่ขายอยู่ อย่างไรก็ดี ปัจจุบันนี้เริ่มมีแนวโน้มที่จะทำให้ระบบการสามารถนำไปใช้งานบนเครื่องต่าง ๆ กันได้ (Protable operating system) เช่น ระบบปฏิบัติการยูนิกซ์ (UNIX) เป็นต้น
            ระบบปฏิบัติการยูนิกซ์ เป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนาขึ้นในปี ค.ศ. 1971 โดย และ จากห้องปฏิบัติการเบลล์ของบริษัท AT& T ซึ่งได้ทำการพัฒนาบนเครื่องมินิคอมพิวเตอร์ของ DEC ระบบปฏิบัติการยูนิกซ์เป็นระบบที่สนับสนุนผู้ใช้งานจำนวนหลายคนพร้อม ๆ กัน
โดยใช้หลัก การแบ่งเวลา (
time sharing) ต่อมาในปี ค.ศ. 1970 ได้มีการบริจาคระบบปฏิบัติการนี้ให้กับวงการศึกษา และมีการนำไปใช้
ทั้งในมหาวิทยา และวิทยาลัยต่าง ๆ มากมาย นักศึกษาจำนวนมากจึงได้ใช้ระบบปฏิบัติการยูนิกซ์ เป็นผลให้เมื่อนักศึกษาเหล่านั้นจบออกไปทำงาน ก็ยังคงเคยชินกับระบบปฏิบัติการยูนิกซ์และจัดหามาใช้ในองค์กรที่ทำงานอยู่ระบบปฏิบัติการยูนิกซ์จึงได้รับการยอมรับ
ในวงการอุตสาหกรรมและวงการอื่นๆอย่างแพร่หลายและมีการใช้งานอยู่ตั้งแต่เครื่องระดับไมโครคอมพิวเตอร์ไปจนถึงเครื่องระดับ
ซูเปอร์คอมพิวเตอร์

ระบบปฏิบัติการแบบปิด (Proprietary Operating System)

  เป็นระบบปฏิบัติการที่สร้างขึ้นมาเพื่อใช้กับคอมพิวเตอร์ ระบบหนึ่งระบบใดหรือยี่ห้อหนึ่ง ยี่ห้อ
ใดเท่านั้น ตัวอย่างสร้างระบบปฏิบัติการขึ้นมา เพื่อใช้กับไมโครโปรเซสเซอร์ประเภทเดียวไม่สามารถนำ
ไปใช้กับคอมพิวเตอร์ประเภทอื่นๆ ได้ เช่น ระบบปฏิบัติการสำหรับเครื่อง Macintosh และเครื่องใน
ตระกูล Apple ซึ่งใช้ซีพียู ยี่ห้อ Motorola ไม่สามารถนำระบบปฏิบัติการนี้มาใช้กับเครื่องไมโคร
คอมพิวเตอร์ทั่วๆ ไปได้

โปรแกรมมัลติมีเดีย้พื่อการนำเสนอ หน่วยการเรียนรุ้ที่ 10 การเตรียมตัวก่อนนำเสนอ

หน่วยการเรียนรุ้ที่ 10 การเตรียมตัวก่อนนำเสนอ  

 - บันทึกย่อ

บันทึกย่อคือกระดาษโน้ตติดกาวในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ คุณสามารถใช้บันทึกย่อเพื่อจดคำถาม ความคิด ตัวเตือน และสิ่งต่างๆ ที่คุณต้องการเขียนบนกระดาษ คุณสามารถเปิดบันทึกย่อทิ้งไว้ในขณะที่คุณทำงานอยู่ได้ สิ่งนี้ให้ความสะดวกเมื่อคุณใช้บันทึกย่อเพื่อบันทึกข้อมูลที่คุณอาจต้องใช้ในภายหลัง เช่น คำแนะนำหรือข้อความที่คุณต้องการนำมาใช้ใหม่ในรายการหรือเอกสารอื่นๆ
คุณสามารถสร้างบันทึกย่อจากโฟลเดอร์ Outlook
  1. ในบันทึกย่อ บนแท็บหน้าแรก ในกลุ่มใหม่ คลิกบันทึกย่อใหม่
    คำสั่ง สร้างบันทึกย่อ บน Ribbon
คีย์ลัด    เมื่อต้องการสร้างบันทึกย่อ ให้กด CTRL+SHIFT+N
  1. พิมพ์ข้อความของบันทึกย่อ บันทึกบันทึกย่อโดยอัตโนมัติ
  2. เมื่อต้องการปิดบันทึกย่อ คลิกไอคอนบันทึกย่อ รูปปุ่ม ในมุมซ้ายบนของหน้าต่างบันทึกย่อ แล้ว คลิ กปิด
คุณสามารถเปิดบันทึกย่อทิ้งไว้ในขณะที่คุณทำงานอยู่ได้ และสามารถลากไปที่ตำแหน่งใดๆ บนห

โปรแกรมมัลติมีเดียเพื่อการนำเสนอ หน่วยการเรียนรู้ที่9 การใส่ลูกเล่นในการนำเสนอ

 หน่วยการเรียนรู้ที่9 การใส่ลูกเล่นในการนำเสนอ

- การกำหนดลำดับการแสดงลูกเล่นภายในสไลด์
รูปแบบในการใส่ลูกเล่นในงานนำเสนอ
 นำเสนอแบ่งออกเป็น 2 แบบใหญ่ๆ คือ
1. การใสลูกเล่นให้กับหน้าสไลด์
 จะเป็นการสร้างความเคลื่อนไหวให้กับหน้าสไลด์ที่กำลังแสดงและจบลง โดยมีขั้นตอนในการสร้างดังนี้
- เลือกสไลด์ที่ต้องการลูกเล่น
- คลิกแท็บการเปลี่ยน (Transitions)
- เลือกรูปแบบการเปลี่ยนสไลด์
- เลือกเสียง (Sound) ประกอบให้กับสไลด์
- ระยะเวลาการเล่น
2. การใส่ลูกเล่นให้กับวัตถุภายในสไลด์
 จะเป็นการสร้างการเคลื่อนไหวให้กับองค์ประกอบต่างๆ ที่อยู่ภายในสไลด์โดยแบ่งออกเป็น 2 รูปแบบ คือ
 1. การใส่ลูกเล่นอย่างง่าย
 วิธีเหมาะสำหรับมือถือใหม่ที่พึ่งหัดใช้โปรแกรมเพราะโปรแกรมจะมีรูปแบบสำเร็จรูปไว้ให้เลือกใช้งานได้ตามความพอใจ ซึ่งวิธีนี้เป็นวิธีที่สะดวกและรวดเร็วที่สุด
- คลิกเลือกวัตถุที่ต้องการใส่ลูกเล่น
- คลิกแท็บภาพเคลื่อนไหว
- เลือกรูปแบบที่ต้องการ
2. การใส่ลูกเล่นแบบกำหนดเอง
 เป็นการใส่ลูกเล่นให้มีความโดดเด่นกว่าลูกเล่นที่โปรแกรมได้กำหนดให้ ทำให้กำหนดได้โดยไม่ต้องซ้ำแบบใคร โดยมีขั้นตอนในการใส่ดังนี้
- เลือกวัตถุที่ต้องการ
- คลิกที่แท็ปภาพเคลื่อนไหว (Animation)
- เลือกเพิ่มภาพเคลื่อนไหว (Add Animation)
- เลือกลูกเล่นให้กับวัตถุ
- กำหนดความเร็ว

โดยในโปรแกรมได้แบ่งลูกเล่นต่างๆออกเป็นหมวดหมู่ดังนี้
มีเอฟเฟ็กต์ภาพเคลื่อนไหวอยู่สี่ประเภทด้วยกัน ได้แก่
เอฟเฟ็กต์ เข้า จะทำให้วัตถุค่อยๆ ปรากฏในโฟกัส หรือลอยเข้ามาจากขอบด้านใดด้านหนึ่งของสไลด์ หรือเด้งเข้ามาก็ได้
เอฟเฟ็กต์ ออก จะรวมถึงการทำให้วัตถุลอยออกไปจากสไลด์ หายไปจากมุมมอง หรือหมุนตัวออกไปจากสไลด์
เอฟเฟ็กต์ เน้น จะทำให้วัตถุลดหรือเพิ่มขนาด เปลี่ยนสี หรือหมุนรอบตัวเอง

การกำหนดลูกเล่นหลายแบบให้กับวัตถุชิ้นเดียว
ในPowerPoint 2010 และรุ่นที่ใหม่ กว่า คุณสามารถใช้ลักษณะพิเศษภาพเคลื่อนไหว (ภาพเคลื่อนไหว) กับข้อความ รูปภาพ รูปร่าง กราฟิก SmartArt และ อื่น ๆ เพื่อให้พวกเขาเล่นในการนำเสนอภาพนิ่งของคุณ สร้างงานนำเสนอภาพนิ่งที่ animates คะแนนแสดงหัวข้อย่อยหรือแม้แต่ผลิตเครดิต

การกำหนดลำดับการแสดงลูกเล่นภายในสไลด์
 สามารถกำหนดลำดับการแสดงข้อมูลของลูกเล่นที่กำหนดไว้ภายในสไลด์ได้ดังนี้
- คลิกเลือกรายการที่ต้องการเปลี่ยนแปลง
- คลิกเมาส์เลือกสลับตำแหน่งที่ต้องการ
- รายการภาพเคลื่อนไหวจะถูกสลับตำแหน่ง

การยกเลิกลูกเล่นภายในสไลด์
 หากลูกเล่นที่ได้กำหนดไว้ยังไม่เป็นที่น่าพอใจนัก สามารถเลิกหรือเปลี่ยนได้ดังนี้
 - คลิกรายการที่ต้องการยกเลิก
 - จะปรากฏลูกศรหัวลง (Drop Down) คลิกที่ลูกศร
 - คลิกเลือกเอาออก (Remove)

โปรแกรมมัลติมีเดียเพื่อการนำเสนอ หน่วยการเรียนรู้ที่8 การแทรกตาราง กราฟ และแผนผัง

หน่วยการเรียนรู้ที่8 การแทรกตาราง กราฟ และแผนผัง

- การสร้างตาราง

31
ขั้นตอนที่ 2 ตั้งชื่อชิ้นงานและปรับค่าขนาดชิ้นงานตามที่ต้องการ32
ขั้นตอนที่ 3 เลือกเครื่องมือ Line Segment Tool > Rectangular Grid Tool แล้วลากตารางได้เลย
33
34
ขั้นตอนที่ 4 วิธีตัดเส้นในส่วนที่ไม่ต้องเอา > เลือกเส้นที่ไม่ต้องการ(ในส่วนของหลายเส้น) แล้วใช้เครื่องมือ Selection Tool แล้ว ลากคลุมที่เส้นจะตัดออก หลังจากนั้นลากลงให้พดดีกับเส้น
35
36
ขั้นตอนที่ 5 วิธีเพิ่มเส้น เลือกที่ Direct Selection Tool (เมาส์สีขาว) แล้วมาเลือกที่เส้น 1 เส้น เลือกเมนู Edlt > copy > Paste in Froot แล้วลากเส้นไปวางที่จะเพิ่มจำนวนช่องได้เลย
37
ขั้นตอนที่ 6ใส่ข้อความลงในตาราง38
39
Advertisements

โปรแกรมมัลติมีเดียเพื่อการนำเสนอ หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 การแทรกเสียงและภาพยนตร์

หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 การแทรกเสียงและภาพยนตร์

- การแทรกเสียงลงบนสไลด์
คุณสามารถเพิ่มเพลงลงในงานนำเสนอ และเล่นเพลงนั้นแบบเบื้องหลังในสไลด์ทั้งหมดในการนำเสนอสไลด์ของคุณได้ ถ้าคุณต้องการใช้เพลงจากเว็บ คุณจำเป็นต้องดาวน์โหลดลงในคอมพิวเตอร์ของคุณก่อนจึงจะสามารถใช้ในงานนำเสนอได้

เมื่อต้องการเล่นเพลงในสไลด์ทั้งหมดใน PowerPoint 2010

  1. บนแท็บ แทรก ให้เลือก เสียง แล้วเลือก เสียงจากไฟล์
  2. ใน File Explorer ให้ระบุไฟล์เพลงที่คุณต้องการใช้ แล้วเลือก แทรก
  3. เมื่อเลือกไอคอนเสียงบนสไลด์อยู่ บนแท็บ การเล่น ให้คลิกรายการชื่อ เริ่ม แล้วเลือก เล่นในสไลด์ทั้งหมด
    ตัวเลือก "เล่นในสไลด์ทั้งหมด" สำหรับไฟล์เสียงใน PowerPoint 2010
    (เล่นในสไลด์ทั้งหมด ยังทำให้ไฟล์เสียงเริ่มเล่นโดยอัตโนมัติในระหว่างการนำเสนอสไลด์อีกด้วย)

เล่นเพลงหลายเพลงในหลายสไลด์

โปรแกรมมัลติมีเดียเพื่อการนำเสนอ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การปรับแต่งสไลด์ด้วยภาพ

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การปรับแต่งสไลด์ด้วยภาพ

- การแทรกภาพวีดีโอลงในสไลด์
มัลติมีเดีย คือ ข้อมูลแบบผสมที่ประกอบไปด้วยข้อความ รูปภาพ ภาพเคลื่อนไหว เสียง วิดีโอ เช่น ไฟล์ MIDI ไฟล์เพลงจาก (.CDA) ไฟล์ MP3 ไฟล์วิดีโอ (.AVI) ไฟล์ภาพยนตร์จากแผ่นวิดีโอ (.DAT) ไฟล์ภาพเคลื่อนไหว (.GIF) รวมทั้งไฟล์เสียงที่มีมากับโปรแกรม PowerPoint 2003 ในคลิปอาร์ต (Clip Art)
•  การแทรกรูปภาพ
การแทรกรูปภาพลงในสไลด์นั้นมีอยู่ด้วยกัน 2 รูปแบบ คือ การแทรกรูปภาพจากภายนอก (From File) และการแทรกรูปภาพที่มีมากับโปรแกรมหรือโปรแกรมเตรียมไว้ให้ในคลิปอาร์ต
การแทรกรูปภาพคลิปอาร์ต
วิธีที่ 1
•  เลือกเมนู แทรก ? เลือกคำสั่ง รูปภาพ ? เลือกคำสั่ง ภาพตัดปะ
•  พิมพ์ชื่อรูปภาพที่ต้องการในช่องค้นหา :
•  ระบุแหล่งที่ต้องการค้นหาภาพในช่อง ค้นหาใน :
•  ผลลัพธ์ข้อความเป็น : ชนิดของไฟล์
•  จากนั้นคลิกปุ่ม ไป
•  คลิกเลือกรูปภาพ
•  เลือกคำสั่ง แทรก

- การจัดการกับรูปร่าง

การจัดการกับรูปร่าง

  • รูปร่างส่วนมากจะมีเครื่องมือปรับรูปร่างหนึ่งตัวหรือหลายตัว (รูปข้าวหลามตัดสีเหลืองที่ปรากฏบน Perimeter ของรูปร่างเมื่อเลือกไว้) ซึ่งคุณสามารถลากเพื่อเปลี่ยนรูปร่างได้
    เครื่องมือปรับรูปร่างบางตัวจะจัดการการเปลี่ยนแปลงที่ค่อนข้างมาตรฐาน เช่น ความลึกหรือความหนาของลูกศรหรือขนาดของชิ้นวงกลม ส่วนเครื่องมือปรับรูปร่างอื่นๆ จะสามารถเปลี่ยนแปลงรูปร่างได้มากมาย ตัวอย่างเช่น ให้ดูที่รูปร่างหยดน้ำใหม่ที่แตกต่างกันสามแบบ ทางด้านซ้ายเป็นรูปร่างที่เป็นค่าเริ่มต้น และอีกสองตัวเลือกจะถูกสร้างขึ้นโดยการลากเครื่องมือปรับรูปร่างในทิศทางตรงกันข้าม
    รูปร่างหยดน้ำ
    ในทำนองเดียวกัน ดาว 4 แฉกจะกลายเป็นรูปแปดเหลี่ยมเมื่อเครื่องมือปรับรูปร่างเคลื่อนย้ายไปเท่าที่จะสามารถทำได้
    ดาว 4 แฉกและรูปแปดเหลี่ยม
    เครื่องมือปรับรูปร่างบางตัวยังมีรายละเอียดที่เป็นประโยชน์ซึ่งคุณอาจไม่ทราบว่าคุณสามารถนำมาใช้ได้ ตัวอย่างเช่น เครื่องมือปรับรูปร่างสองตัวบนวงเล็บปีกกาขวาที่แสดงในรูปภาพต่อไปนี้จะเปลี่ยนส่วนโค้งของเครื่องหมายปีกกาและตำแหน่งของตัวชี้บนเครื่องหมายปีกกา ตามลำดับ ดังที่คุณสามารถเห็นได้ที่นี่
    เครื่องมือปรับรูปร่างสองตัว
  • คุณสามารถเปลี่ยนรูปร่างใดๆ (ที่ไม่ใช่ตัวเชื่อมต่อ) เป็นรูปร่างที่มีอยู่แล้วอื่นๆ โดยการใช้เครื่องมือ เปลี่ยนรูปร่าง เช่น หากคุณต้องการให้รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าทั้งหมดในแผนผังองค์กร SmartArt เปลี่ยนเป็นรูปข้าวหลามตัด (หรือหากคุณเพียงต้องการให้รูปร่างใดรูปร่างหนึ่งแตกต่างจากรูปร่างที่เหลือ) คุณสามารถเปลี่ยนได้แม้แต่รูปร่างที่คุณสร้างเองด้วยเครื่องมือ รูปแบบอิสระ ให้เป็นรูปร่างที่มีอยู่แล้ว
    หากต้องการเข้าถึงเครื่องมือ เปลี่ยนรูปร่าง ให้เลือกรูปร่างที่คุณต้องการเปลี่ยนเป็นอันดับแรก จากนั้น ภายใต้ เครื่องมือการวาด บนแท็บ รูปแบบ ในกลุ่ม แทรกรูปร่าง ให้คลิกเพื่อขยายตัวเลือก แก้ไขรูปร่าง ชี้ไปที่ เปลี่ยนรูปร่าง แล้วคลิกเพื่อเลือกรูปร่างที่คุณต้องการ (เปลี่ยนรูปร่าง ยังมีอยู่ภายใต้ เครื่องมือ SmartArt บนแท็บ รูปแบบ ในกลุ่ม รูปร่าง )
    สิ่งที่ดีที่สุดอย่างหนึ่งของเครื่องมือนี้ก็คือข้อเท็จจริงที่ว่าเครื่องมือนี้จะไม่ทำงานบนตัวเชื่อมต่อ ดังนั้น คุณจึงสามารถเลือกไดอะแกรมทั้งหมดหรือกราฟิกอื่นได้ในคราวเดียวกัน และสามารถเปลี่ยนรูปทรงของรูปทรงหลักทั้งหมดได้โดยไม่ต้องกังวลเกี่ยวกับตัวเชื่อมต่อที่รวมอยู่ในส่วนที่คุณเลือกด้วย
  • หากไม่มีรูปร่างที่มีอยู่แล้วที่ตรงกับความต้องการของคุณ และเครื่องมือปรับรูปร่างไม่สามารถให้ความยืดหยุ่นได้อย่างเพียงพอ ขณะนี้ คุณสามารถแปลงรูปร่างที่มีอยู่แล้วใดๆ (ที่ไม่ใช่ตัวเชื่อมต่อ) ให้เป็นวัตถุแบบอิสระได้ จากนั้น ใช้ แก้ไขจุด (ที่อธิบายไว้ในหัวข้อถัดไป) เพื่อสร้างสิ่งที่คุณต้องการซึ่งมีรูปร่างที่แน่ชัดได้
    หากต้องการทำสิ่งนี้ ให้เลือกรูปร่างหนึ่งรูปร่างหรือหลายรูปร่างที่ต้องการแปลง จากนั้น ภายใต้ เครื่องมือการวาด บนแท็บรูปแบบ ในกลุ่ม แทรกรูปร่าง ให้คลิก แก้ไขรูปร่าง แล้วคลิก แปลงเป็นรูปแบบอิสระ รูปร่างจะไม่ปรากฏให้เห็นว่าเปลี่ยนแปลงเมื่อคุณทำสิ่งนี้ แต่จะกลายเป็นรูปวาดที่เป็นรูปแบบอิสระ ดังนั้น เมื่อคุณใช้ แก้ไขจุด คุณจะสามารถเปลี่ยนรูปร่างนั้นให้เป็นรูปวาดชนิดใดก็ได้ที่คุณต้องการอย่างแท้จริง ดังที่กล่าวไว้ก่อนหน้าในบทนี้ ขณะนี้ คุณยังมีความสามารถในการจัดรูปแบบรูปร่างแบบอิสระที่คล้ายคลึงกับรูปแบบที่มีอยู่แล้ว เช่น การเพิ่มข้อความลงในรูปร่างแบบอิสระ  ดังนั้น คุณจึงไม่สูญเสียฟังก์ชันการใช้งานเมื่อคุณทำการเปลี่ยนแปลงนี้
    ความแปลกใหม่อย่างเดียวที่คุณมีแนวโน้มว่าจะพบเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างของคุณเป็นรูปร่างแบบอิสระก็คือพื้นที่ข้อความภายในจะใหญ่ขึ้น ดังนั้น การจัดรูปแบบข้อความที่มีรูปร่างแน่นอนแล้วเมื่อคุณทำการเปลี่ยนแปลงนี้อาจเปลี่ยนไป ดูเคล็ดลับการแก้ปัญหา “พื้นที่ข้อความเปลี่ยนแปลงเมื่อฉันแปลงรูปร่างเป็นรูปวาดที่เป็นรูปแบบอิสระ” ซึ่งอยู่ภายใต้หัวข้อ อักษรศิลป์ ในบทนี้ เนื่องจากความแตกต่างจะมีมากที่สุดเมื่อข้อความของคุณใช้การจัดรูปแบบอักษรศิลป์บางชนิด